- ABB
- Mitsubishi
- Schneider
- ACB / เบรกเกอร์
- Pilot Lamp / Push Button
- Power Plugs
- Safety Switch
- TIMER
- Wireway / รางวายเวย์
- คาปาซิเตอร์
- ตู้ไฟ / รางไฟ
- ท่อ,อุปกรณ์
- มอเตอร์เบรกเกอร์
- มิเตอร์ / พาวเวอร์มิเตอร์
- รีเรย์
- สวิทซ์ / ปลั๊ก
- สายไฟ / สายสัญญาณ
- อินเวอร์เตอร์ / Soft Start
- อุปกรณ์ป้องกันไฟตก / ไฟเกิน
- เครื่องพิมพ์ปลอกมาร์คสาย
- เซฟตี้สวิตช์
- แมกเนติกคอนแทคเตอร์
- โอเวอร์โหลดรีเลย์
แมกเนติกคอนแทคเตอร์
Showing 1–20 of 181 results
-
-
-
-
-
UA30-30-11
ABB แม็กเนติกส์ คอนแทคเตอร์ สำหรับคาปาซิเตอร์ ไม่เกิน 27.5 Kvar ที่400V.
ให้คะแนน 0 ตั้งแต่ 1-5 คะแนน -
UA50-30-11
ABB แม็กเนติกส์ คอนแทคเตอร์ สำหรับคาปาซิเตอร์ ไม่เกิน 33 Kvar ที่400V.
ให้คะแนน 0 ตั้งแต่ 1-5 คะแนน -
UA63-30-11
ABB แม็กเนติกส์ คอนแทคเตอร์ สำหรับคาปาซิเตอร์ ไม่เกิน 45 Kvar ที่400V.
ให้คะแนน 0 ตั้งแต่ 1-5 คะแนน -
UA75-30-11
ABB แม็กเนติกส์ คอนแทคเตอร์ สำหรับคาปาซิเตอร์ ไม่เกิน 50 Kvar ที่400V.
ให้คะแนน 0 ตั้งแต่ 1-5 คะแนน -
UA95-30-11
ABB แม็กเนติกส์ คอนแทคเตอร์ สำหรับคาปาซิเตอร์ ไม่เกิน 60 Kvar ที่400V.
ให้คะแนน 0 ตั้งแต่ 1-5 คะแนน -
UA110-30-11
ABB แม็กเนติกส์ คอนแทคเตอร์ สำหรับคาปาซิเตอร์ ไม่เกิน 70 Kvar ที่400V.
ให้คะแนน 0 ตั้งแต่ 1-5 คะแนน -
-
-
-
-
-
-
-
-
-
แมกเนติกคอนแทคเตอร์ คืออะไร?
แมกเนติกคอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) คือ อุปกรณ์ไฟฟ้ารูปแบบสวิตช์ มีหน้าที่ตัดต่อวงจรไฟฟ้า ทำงานโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อเปิด-ปิดหน้าสัมผัส (Contact) ในการตัดต่อวงจรไฟฟ้า เช่น เปิด-ปิดการทำงานของวงจรควบคุมมอเตอร์ ซึ่งนิยมใช้ในวงจรของระบบปั๊มน้ำและใช้งานกับเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ แมกเนติกคอนแทคเตอร์มีส่วนประกอบที่สำคัญต่อการทำงาน ได้แก่ แกนเหล็ก (Core) ขดลวด (Coil) หน้าสัมผัส (Contact) และสปริง (Spring)
การเลือกซื้อแมกเนติกคอนแทคเตอร์ดีกว่าสวิตช์ทั่วไปอย่างไร?
การเลือกซื้อแมคเนติกคอนแทคเตอร์มีข้อดี ดังนี้
- แมกเนติกคอนแทคเตอร์สามารถควบคุมการเปิด-ปิดระยะไกลแทนการสับสวิตช์โดยตรงได้ ทำให้ผู้ควบคุมปลอดภัยจากการตัดต่อวงจรกำลังที่มีกระแสไฟฟ้าค่อนข้างสูง
- ประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าเมื่อเทียบกับการควบคุมด้วยมือ เพราะหากควบคุมด้วยมือจะต้องทำการเดินสายไฟของวงจรกำลังไปยังจุดควบคุม จากนั้นจึงเดินสายไฟไปยังโหลด ทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์มากขึ้น แต่ถ้าหากใช้ Magnetic Contactor สามารถที่จะเดินสายไฟได้โดยตรง ประหยัดค่าติดตั้งและเวลาในการเดินสายมากกว่า
อ่านเพิ่มเติม
FAQ
-
เลือกแมกเนติกคอนแทคเตอร์อย่างไร ให้เหมาะกับมอเตอร์ที่ใช้งาน
อันดับแรก ให้พิจารณาจากแรงดันไฟฟ้า (V) ซึ่งมีแรงดัน 2 ส่วน ได้แก่
- แรงดันใช้งาน: แรงดันส่วนหน้าสัมผัสจากคอนแทคเตอร์ไปโหลด ซึ่งแรงดันมาตรฐานไทยจะอยู่ที่ 380 – 415V
- แรงดันไฟเลี้ยงหรือแรงดันคอยล์: เป็นแรงดันที่ส่งยังขดลวดเพื่อให้คอนแทคเตอร์ทำงานได้
ต่อมาให้พิจารณาจากกระแส (I) ใช้งาน: กระแส (I) ใช้งานตามประเภทของโหลด โดยทั่วไปจะเป็น
- AC-1: เหมาะสำหรับโหลดแบบ Non-inductive ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าสูง สามารถสตาร์ทตัวมอเตอร์เองได้ เช่น เครื่องทำความร้อน
- AC-3: เหมาะสำหรับโหลดที่เป็นมอเตอร์แบบกรงกระรอก (Squirrel-Cage Motors) ที่มีขั้นตอนในการรับกระแสไฟฟ้าไม่ยุ่งยากมากนัก นิยมใช้มากสุดในอุตสาหกรรม
-
ร้านไฟฟ้ามีแมกเนติกคอนแทคเตอร์ยี่ห้อใดบ้าง
ร้านไฟฟ้าเป็นร้านแมกเนติกคอนแทคเตอร์ที่ได้มาตรฐาน วางจำหน่าย 3 แบรนด์ชั้นนำ ได้แก่ ABB, Mitzubishi และ Schneider
-
ราคาแมกเนติกคอนแทคเตอร์เท่าไหร่
ราคาของแมกเนติกคอนแทคเตอร์ขึ้นอยู่กับประเภท ขนาด และยี่ห้อ โดยราคาทั่วไปในท้องตลาดมีทั้งหลักร้อย หลักพัน ไปจนถึงหลักหมื่น ซึ่งร้านไฟฟ้ามีแมกเนติคคอนแทคเตอร์จำหน่ายในราคาที่คุ้มค่า มีส่วนลดตามโปรโมชัน